ห้องปฏิบัติการกลาง ประเทศไทย
บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.
หน้าหลัก | กระดานความรู้ | อัพเดท
Translate to English

ความรู้เบื้องต้นก่อนทำ ธุรกิจเครื่องดื่ม

เครื่องดื่ม เป็นผลิตภัณฑ์อาหารประเภทของเหลว มีส่วนประกอบหลักคือ น้้า สารให้ความหวาน
กรดอินทรีย์ สี กลิ่น หรือพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณและประโยชน์ต่อสุขภาพ เครื่องดื่มช่วยลดความกระหาย ให้ความรู้สึกสดชื่น ขจัดความอ่อนเพลีย ช่วยชดเชยปริมาณน้้าที่ร่างกายสูญเสียไป ตลอดจนมีคุณค่าทางอาหารต่างๆ ที่มีประโยชน์

ภาษีเครื่องดื่ม
ตาม พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 เครื่องดื่ม ที่กรมสรรพสามิตจัดเก็บ
ภาษี หมายถึง สิ่งที่ตามปกติใช้เป็นเครื่องดื่มได้โดยไม่ต้องเจือปนและไม่มีแอลกอฮอล์ โดยจะมีก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์อยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม บรรจุในภาชนะและผนึกไว้ เช่น น้้าแร่ น้้าหวาน น้้าผลไม้ น้้าพืชผัก และน้้าโซดา เป็นต้น

วิธีการเสียภาษีสรรพสามิตเครื่องดื่ม
1. โดยใช้แสตมป์สรรพสามิต
2. โดยใช้เครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน เช่น เครื่องดื่มประเภทน้้าโซดา น้้าอัดลม
เครื่องดื่มชูก้าลัง เป็นต้น
3. โดยช้าระภาษีภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่น้าสินค้าออกจากโรงงานอุตสาหกรรม โดย
มีหลักประกัน

การประกอบธุรกิจเครื่องดื่ม
ในการประกอบธุรกิจเครื่องดื่ม ก่อนที่จะน้าเข้า ผลิต จ้าหน่าย หรือส่งออกเครื่องดื่ม ผู้ประกอบการ
ที่ดีจะต้องด้าเนินการดังนี้
1. จดทะเบียนพาณิชย์ ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มผลิตหรือจ้าหน่าย
2. ขอเลขประจ้าตัวผู้เสียภาษีจากกรมสรรพากร ตามขนาดและประเภทธุรกิจ เพื่อใช้ในการยื่นแบบ
แสดงรายการภาษี การช้าระภาษี การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย การติดต่อราชการกับกรมสรรพากร
รวมทั้งการจัดท้าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ใบก้ากับภาษี ใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น
การจัดทำเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2557
3. จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีมีรายได้จากยอดขายเครื่องดื่มเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี หรือ

กรณีที่ต้องการเป็นผู้น้าเข้าหรือส่งออกเครื่องดื่ม
การนำเข้าเครื่องดื่ม
1. การจะน้าเข้าสินค้าใดๆ ผู้ประกอบการจะต้องมีเลขประจ้าตัวผู้เสียภาษีอากร และต้องจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่มกับกรมสรรพากรก่อน
2. ลงทะเบียนในระบบพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร (Paperless) เพื่อขอเป็น
ผู้ประกอบการน้าเข้า-ส่งออกกับกรมศุลกากร โดยสามารถด้าเนินการเอง หรือให้ตัวแทนออกของ
รับอนุญาต (Customs Broker) ด้าเนินการลงทะเบียน โดยทำการลงทะเบียนเฉพาะครั้งแรกเท่านั้น
3. ต้องขออนุญาตน้าเข้าเครื่องดื่มจากส้านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ตาม
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
4. ด้าเนินการน้าเข้าตามพิธีการน้าเข้าของกรมศุลกากร โดยสำหรับสินค้าประเภทเครื่องดื่มนั้น
จะต้องขอปิดและขีดฆ่าแสตมป์และช้าระภาษีสรรพสามิต (กรมศุลกากรจัดเก็บแทน และขอเบิก
แสตมป์กับสรรพสามิตพื้นที่ที่ด่านศุลกากรตั้งอยู่) ก่อนน้าเครื่องดื่มผ่านด่านศุลกากร
5. จัดท้ารายงานภาษีซื้อ และรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เพื่อประกอบการยื่นแบบแสดงรายการ
เสียภาษีต่อไป

การผลิตเครื่องดื่ม
ในการผลิตเครื่องดื่มนั้น นอกจากผู้ประกอบการจะต้องมีเลขประจ้าตัวผู้เสียภาษีอากร จดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (กรณีที่ยอดขายต่อปีเกิน 1.8 ล้านบาท) และจดทะเบียนพาณิชย์แล้ว จะต้องด้าเนินการ
ดังต่อไปนี้
1. ขออนุญาตตั้งสถานที่ผลิตเครื่องดื่มจากหน่วยราชการท้องถิ่น
1.1 หากสิ่งปลูกสร้างเป็นอาคารหรือโรงเรือน ผู้ประกอบการต้องเสียภาษีโรงเรือนและ
ที่ดินด้วย
การจัดทำเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2557
1.2 หากเข้าข่ายโรงงาน ผู้ประกอบการต้องขออนุญาตจากส้านักทะเบียนโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือที่สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
2. จดทะเบียนสรรพสามิต ณ ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่แห่งท้องที่ที่โรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ (ตาม
แบบ ภษ. 01-04) ภายใน 30 วัน ก่อนเริ่มผลิตสินค้า
3. ยื่นขออนุญาตผลิต โดยหลังจากผลิตเสร็จแล้ว ผู้ประกอบการจะต้องส่งตัวอย่างเครื่องดื่มตามที่
กฎหมายก้าหนดต่อส้านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อขออนุมัติการผลิต
4. ยื่นแจ้งวันท้าการผลิตและราคาขายต่ออธิบดีกรมสรรพสามิต โดยยื่นที่ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่
ที่โรงงานผลิตตั้งอยู่ และแจ้งราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันเริ่ม
จ้าหน่าย รวมทั้งท้าการจดแจ้งฉลากและจัดท้าบัญชีงบเดือนเพื่อใช้ประกอบการเสียภาษี
สรรพสามิตด้วย
5. จัดท้ารายงานภาษี ได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ยื่นต่อกรม
สรรพสามิต เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนน้าสินค้าออกวางจ้าหน่าย

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้ำผลไม้และน้ำพืชผัก
ชี้แจงถึงรายละเอียดของหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และน้้าพืชผัก ตาม
ประกาศกรมสรรพสามิต
นิยาม
เครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผัก หมายความว่า เครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผักที่
ท้าจากผลไม้หรือพืชผัก ซึ่งไม่มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งนี้ ต้องไม่ใช่เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของสารที่ให้พลังงาน อาทิเช่น ทอรีน อินโนซิทอล หรือกลูโคโรโนแลกโตน เป็นต้น

คุณสมบัติของเครื่องดื่มประเภทน้ำผลไม้และน้ำพืชผักที่จะได้รับยกเว้นภาษี
1. เป็นเครื่องดื่มที่มีรายชื่อประเภทเครื่องดื่มและอัตราส่วนผสมตามที่ก้าหนดในบัญชีอัตราส่วนผสม
ของเครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผัก ซึ่งแนบท้ายประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และน้้าพืชผัก
2. เป็นเครื่องดื่มที่มีสีกลิ่น และรส ตามประเภทของผลไม้และพืชผักที่ใช้ท้าเครื่องดื่มนั้น
การได้รับสิทธิยกเว้นภาษี

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีคือ ผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้น้าเข้าเครื่องดื่มประเภท
น้้าผลไม้และน้้าพืชผัก
1. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมเครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผักมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติ
ในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 ดังต่อไปนี้
1.1 จดทะเบียนสรรพสามิต ตามมาตรา 25
การจัดท าเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2557
1.2 ส่งตัวอย่างเครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผักที่ขอยกเว้นภาษีในปริมาณไม่น้อยกว่า
2 ลิตร พร้อมแสดงสูตรส่วนผสมและกรรมวิธีการผลิตให้กรมสรรพสามิตใช้ตรวจสอบประกอบการพิจารณายกเว้นภาษีสรรพสามิต
1.3 ส่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตให้กรมสรรพสามิต กรณีที่เจ้าพนักงานสรรพสามิตร้องขอ
1.4 ท้าบัญชีประจ้าวันและงบเดือนแสดงรายการเกี่ยวกับวัตถุดิบ การผลิตและการจำหน่ายสินค้า ตามมาตรา 112 โดยต้องจัดส่งงบเดือนดังกล่าวให้เจ้าพนักงานสรรพสามิต ณส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่แห่งท้องที่ที่โรงอุตสาหกรรมตั้งอยู่
1.5 แจ้งวันเวลาท้าการตามปกติ และวันเวลาหยุดท้าการของโรงอุตสาหกรรม ตามมาตรา116
1.6 แจ้งราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม ตามมาตรา 117
2. ต้องแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ที่ภาชนะบรรจุ และหรือฉลากปิดภาชนะ และหรือฝาปิดภาชนะ
บรรจุเครื่องดื่ม (ดูรายละเอียดใน ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการ
ยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และน้้าพืชผัก ลงวันที่ 29 มกราคม 2551)

การยื่นคำขอยกเว้นภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีให้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษีดังนี้
1. กรณีผลิตในราชอาณาจักร ให้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษี ณ ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่แห่งท้องที่ที่
โรงอุตสาหกรรมตั้งอยู่
2. กรณีนำเข้า ให้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษีณ ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่แห่งท้องที่ที่ด่านศุลกากรตั้งอยู่
เว้นแต่การน้าเข้าผ่านด่านศุลกากรที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีส้านักงานตั้งอยู่ในเขต
กรุงเทพมหานคร ให้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษี ณ ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่แห่งท้องที่ที่ส้านักงาน
ตั้งอยู่
การจัดทำเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2557
3. ระยะเวลาในการยื่นค้าขอ
3.1 ในกรณีผลิตในราชอาณาจักร ให้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษีก่อนการผลิตในครั้งแรก
3.2 ในกรณีน้าเข้า ให้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษีก่อนการน้าเข้าในครั้งแรก
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรสุทธิหรือขนาดภาชนะบรรจุซึ่งแตกต่างจากที่ได้รับยกเว้นภาษีไว้
เดิม ผู้ขอยกเว้นภาษีจะต้องแจ้งการเปลี่ยนแปลงปริมาตรสุทธิและขนาดภาชนะบรรจุให้ผู้มีอ้านาจอนุมัติยกเว้นภาษีทราบก่อนการผลิตทุกครั้ง จึงจะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีส้าหรับเครื่องดื่มที่เปลี่ยนแปลงปริมาตรสุทธิหรือขนาดภาชนะบรรจุนั้น แต่ไม่ต้องแจ้งรายละเอียด หากอัตราส่วนผสมของเครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผักดังกล่าวมิได้เปลี่ยนแปลง

การพิจารณาอนุมัติ
อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย เป็นผู้มีอ้านาจอนุมัติยกเว้นภาษีส้าหรับเครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และ
น้้าพืชผักตามประกาศฯ โดยมีผลใช้บังคับ ดังนี้
1. กรณีผลิตในราชอาณาจักร ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีได้ยื่นค้าขอยกเว้นภาษี
เป็นต้นไป
2. กรณีน้าเข้า ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่อนุมัติให้ยกเว้นภาษีเป็นต้นไป ทั้งนี้เพื่อผู้น้าเข้าจะได้น้าไป
ยื่นต่อกรมศุลกากรในการน้าเข้าเครื่องดื่มดังกล่าวต่อไป

กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
1. พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 103
2. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 27) ลงวันที่
30 ธันวาคม 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษี
สรรพสามิต (ฉบับที่ 41) ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2540
3. ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และ
น้้าพืชผัก ลงวันที่ 29 มกราคม 2551
4. ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และ
น้้าพืชผัก (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 23 เมษายน 2551
5. ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และ
น้้าพืชผัก (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 13 ตุลาคม 2552

ขั้นตอนงานการยกเว้นภาษีสรรพสามิตเครื่องดื่มน้ำผลไม้และน้ำพืชผัก
1. ผู้ประกอบอุตสาหกรรม
ยื่นหนังสือแจ้งความประสงค์ขอรับสิทธิการยกเว้นภาษีที่ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่ที่โรงอุตสาหกรรม
ตั้งอยู่ พร้อมส่งตัวอย่างเครื่องดื่มประเภทน้้าผลไม้และน้้าพืชผักที่ขอยกเว้นภาษีในปริมาณไม่น้อยกว่า 2 ลิตร
พร้อมแสดงสูตรส่วนผสมและกรรมวิธีการผลิตใช้ตรวจสอบ ประกอบการพิจารณายกเว้นภาษี
2. สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารทั้งหมด ดังนี้
2.1 ตรวจสอบชื่อผู้ประกอบอุตสาหกรรมว่า ตรงกับชื่อที่จดทะเบียนสรรพสามิตหรือไม่
2.2 ตรวจรายละเอียดสินค้าในหนังสือแจ้งความประสงค์ขอรับสิทธิยกเว้นภาษีกับรายละเอียดที่
ภาชนะบรรจุและหรือฉลากปิดภาชนะสินค้าที่แนบมาพร้อมหนังสือ ดังนี้
(1) ชื่อผู้ประกอบอุตสาหกรรม/ผู้น้าเข้า
การจัดท าเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2557
- กรณีผลิตในราชอาณาจักรหรือน้าเข้า ต้องแสดงชื่อผู้ประกอบอุตสาหกรรมให้ตรงกับชื่อผู้ขอ
ใช้สิทธิยกเว้นภาษี
- กรณีส่งเครื่องดื่มออกไปนอกราชอาณาจักรให้แสดงชื่อของผู้จัดจ้าหน่ายในต่างประเทศแทน
(2) สถานที่ตั้งโรงอุตสาหกรรม/สถานประกอบการของผู้น้าเข้า
- กรณีผลิตในราชอาณาจักรหรือน้าเข้า ต้องแสดงสถานที่ตั้งของโรงงานที่ผลิตเครื่องดื่ม
- กรณีส่งเครื่องดื่มออกไปนอกราชอาณาจักรให้แสดงชื่อของผู้จัดจ้าหน่ายในต่างประเทศแทน
(3) ชื่อเครื่องดื่ม
(4) เครื่องหมายการค้า
(5) ส่วนผสมหลักของเครื่องดื่ม (โดยค้านวณเป็นร้อยละต่อปริมาตรสุทธิของเครื่องดื่ม)
(6) ปริมาตรสุทธิต้องแสดงให้ตรงกับหนังสือแจ้งความประสงค์ขอรับสิทธิยกเว้นภาษี
(7) วัน เดือน ปี ที่ผลิตและหมดอายุหรือที่ควรบริโภคก่อน หากไม่แสดงไว้บนฉลาก ให้

ผู้ประกอบอุตสาหกรรมระบุไว้ในหนังสือแจ้งความประสงค์ขอรับสิทธิการยกเว้นภาษีว่า
แสดงไว้ที่ใดบนภาชนะบรรจุเครื่องดื่ม
2.3 จัดท้าหนังสือจ้านวน 2 ฉบับ ดังนี้
ฉบับที่ 1 เสนอผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิเคราะห์สินค้า กลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง และ
น้าส่งตัวอย่างเครื่องดื่มพร้อมส้าเนาหนังสือของผู้ประกอบอุตสาหกรรม สูตรส่วนผสม กรรมวิธีและตัวอย่าง
ฉลาก โดยให้ระบุในหนังสือน้าส่งตัวอย่างสินค้าว่า ขอให้กลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง รายงานผล
การทดสอบตัวอย่างและให้แจ้งต่อสำนักงานสรรพสามิตภาค เพื่อใช้ประกอบการพิจาณาอนุมัติต่อไป
ฉบับที่ 2 เสนอผู้อ้านวยการส้านักงานสรรพสามิตภาค พร้อมเอกสารการขอยกเว้นภาษี
ทั้งหมด เพื่อตรวจสอบและรอผลการวิเคราะห์ตัวอย่างจากกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลางเพื่อใช้
ประกอบการพิจารณาอนุมัติยกเว้นภาษีต่อไป
3. สำนักงานสรรพสามิตภาค
3.1 ตรวจสอบเอกสารหลักฐานทั้งหมด (จากข้อ 2.3 ฉบับที่ 2) ที่ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่เสนอ
ว่าถูกต้องครบถ้วนประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และน้้าพืชผัก ลงวันที่ 29 มกราคม 2551
การจัดท าเนื้อหาองค์ความรู้ SMEs ภายใต้งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs Knowledge Center ปี 2557
3.2 ตรวจสอบรายงานผลการทดสอบของกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลางว่าตัวอย่างเครื่องดื่มที่
ส่งมาทดสอบ ว่ามีเกณฑ์อัตราส่วนผสมของน้้าผลไม้และน้้าพืชผักต่อปริมาตรสุทธิของเครื่องดื่มเป็นไปตามบัญชี
ท้ายประกาศฯ หรือไม่ ถ้ามีอัตราส่วนผสมไม่น้อยกว่าบัญชีท้ายประกาศฯจะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีแต่ถ้ามีอัตราส่วนผสมน้อยกว่าบัญชีท้ายประกาศฯก็จะไม่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี
3.3 เจ้าหน้าที่จัดท้าหนังสือเสนอผู้อ้านวยการส้านักงานสรรพสามิตภาค เพื่ออนุมัติยกเว้นภาษี
พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณาให้สรรพสามิตพื้นที่เพื่อแจ้งผู้ประกอบอุตสาหกรรมทราบต่อไป
(1) กรณีที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี
- สินค้าที่ผลิตในราชอาณาจักร ให้ระบุว่า มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ยื่นค้าขอยกเว้นภาษี
(วันที่ส้านักงานสรรพสามิตพื้นที่ลงรับหนังสือ)
- สินค้าน้าเข้า ให้ระบุว่า มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ผู้อ้านวยการส้านักงานสรรพสามิตภาค
อนุมัติให้ยกเว้นภาษี
(2) กรณีที่ไม่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีให้ระบุว่า ผู้ประกอบอุตสาหกรรมสามารถใช้สิทธิ
อุทธรณ์ค าสั่งทางปกครอง ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งค าสั่งดังกล่าว โดย
ยื ่นต ่อเจ้าหน้าที ่ผู้ท าค าสั ่งทางปกครอง ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539
3.4 เมื่อผู้อ้านวยการสรรพสามิตภาคลงนามอนุมัติยกเว้นภาษีแล้ว ให้จัดท้าหนังสือเวียน
อิเล็กทรอนิกส์ให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

อ้างอิง
กรมสรรพสามิต. แนวทางการปฏิบัติงานการยกเว้นภาษีเครื่องดื่มน้้าผลไม้และน้้าพืชผักที่มีคุณสมบัติ
ตามเงื่อนไขได้รับสิทธิยกเว้นภาษีสรรพสามิต

ข้อมูลจาก http://link..

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ให้บริการตรวจวิเคราะห์ต่างๆ ทั้งผลิตภัณฑ์อาหาร และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร

เลือกตรวจวิเคราะห์ออนไลน์กับเราได้ที่ เมนูหลักเลือกตรวจวิเคราะห์

โดย admin 2565/09/21 15:12:19
อ่าน: 216, ความเห็น: 0, e

ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ตรวจเครื่องดื่ม , ตรวจเครื่องดื่มเพื่อขอ อย. , ตรวจเครื่องดื่นเพื่อ ได้รับการยกเว้นภาษี



 
 

พิมพ์ตัวเลข ↑
 
คุณต้องการตรวจวิเคราะห์ ?
ฉลากโภชนาการ
สารสำคัญกัญชา/กัญชง
น้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application

Line @FarmKaset
สอบถามเพิ่มเติม
คุณปริม โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

สะดวกมากขึ้น
1.กรอกฟอร์มออนไลน์ และโอนชำระเงิน
2.ส่งตัวอย่างมาที่ห้องแล็บ
3.รอรับผลทางไปรษณีย์ อีเมล์และไลน์

การตรวจ ผลิตภัณฑ์ กัญชง กัญชา ให้ได้มาตรฐาน ถูกต้องตามกฎหมายรับรอง
Update: 2566/08/30 08:27:01
อ่าน: 635 ความเห็น: 0
ฉลากโภชนาการ ประโยชน์ที่เจ้าของสินค้า ไม่ควรมองข้าม
Update: 2566/08/30 08:23:39
อ่าน: 659 ความเห็น: 0
ตรวจ GMP น้ำ กับ centrallab.online
Update: 2565/12/15 07:22:00
อ่าน: 897 ความเห็น: 0
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี กับ centrallab.online
Update: 2565/12/15 07:03:41
อ่าน: 895 ความเห็น: 0
ตรวจวิเคราะห์ดิน ปรับการใช้ปุ๋ย ไม่ว่าปลูกพืชอะไร ก็ได้ผลผลิตที่ดีขึ้น ลดต้นทุนปุ๋ยได้สูงกว่าจ่ายค่าตรวจดินหลายเท่า
Update: 2565/12/15 06:51:14
อ่าน: 1082 ความเห็น: 0
ปลาร้าสับผัดสุก รสแซ่บ…
Update: 2565/12/08 14:50:25
อ่าน: 880 ความเห็น: 0
กัญชา ปรุงยังไงไห้เป็นเมนูที่ถูกต้อง และ ปลอดภัย !!
Update: 2565/12/08 14:24:35
อ่าน: 896 ความเห็น: 0
ผักอินทรีย์ คือ ผักปลอดสารพิษ หรือเปล่า?
Update: 2565/12/08 14:18:27
อ่าน: 880 ความเห็น: 0
ต้นทุนต่ำ สร้างรายได้ตลอดปี เลี้ยง ปลาสลิด ในบ่อปูนซีเมนต์
Update: 2565/12/08 14:00:22
อ่าน: 941 ความเห็น: 0
ใครป่วย มีอาการไอ มีเสมหะ ต้องลอง ! สมุนไพรแก้ไอ ขับเสมหะ
Update: 2565/12/08 13:55:08
อ่าน: 878 ความเห็น: 0
© CentralLab.online 2022