ห้องปฏิบัติการกลาง ประเทศไทย
บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.
หน้าหลัก | กระดานความรู้ | อัพเดท
Translate to English

สารอันตราย ในเครื่องสำอางค์ 9 ชนิด ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด

สารอันตราย ในเครื่องสำอางค์ 9 ชนิด ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด
ในชีวิตประจำวันปัจจุบัน โดยเฉพาะสาวๆครีมและเครื่องสำอางคงจะเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นสบู่ ยาสีฟัน ครีมกันแดด ครีมบำรุงหรือเครื่องสำอาง สิ่งเหล่านี้ล้วนผลิตจากสารเคมีที่ไม่ได้สังเคราะห์โดยธรรมชาติ
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด

สารอันตราย 9 ชนิด ได้แก่
1. สารสเตียรอยด์ (Steroids)
2. สารปรอท (Mercury)
3. ไฮรโดรควิโนน (Hydroquinone)
4. สารตะกั่ว (Lead)
5. โซเดียมซัลเฟต (Sodium Lauryl Sulphate)
6.สาร PVP(Polyvinyl Pyrrolidone)
7. กรดเรติโนอิก(Retinoic acid)
8. แป้งทัลคัม(Talcum)
9. สารพาราเบน (Paraben)


1. สารสเตียรอยด์ (Steroids)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comนับเป็นสารอันตรายที่พบบ่อยในผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า ช่วยให้ผิวหน้าใสขึ้นอย่างรวดเร็ว ช่วยให้สิวหายไว แต่เมื่อหยุดใช้สิวจะเห่อขึ้นมามากกว่าเดิม หรือผิวแตกลายเป็นรอยแดง ยับยั้งการเติบโตในเด็ก อาจทำให้ผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ รวมทั้งไปกดภูมิคุ้มกันโรค จนทำให้ร่างกายอ่อนแอ

2. สารปรอท (Mercury)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comพบมากในเครื่องสำอางและครีมบำรุงผิว ช่วยให้สีผิวขาวขึ้นไว ลดฝ้า กระ และลดสิว ได้อย่างรวดเร็ว หากหยุดใช้ผิวจะคล้ำลงกว่าเดิมจนเป็นสีปรอทหรือสีดำอมเทา หากใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจซึมเข้าสู่กระแสเลือดและทำลายระบบประสาทส่วนกลาง

3. ไฮรโดรควิโนน (Hydroquinone)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comไฮโดรควิโนน เป็นสารที่มีคุณสมบัติช่วยฟอกสีผิว ออกฤทธิ์ยับยั้งหรือกดกระบวนการทางเคมีของเซลล์สร้างเม็ดสี หรือทำให้ฝ้าจางลงไปได้อย่างรวดเร็ว จึงมักถูกผสมเพื่อเป็นครีมรักษาฝ้า หากใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจเกิดอาการระคายเคือง สีผิวไม่สม่ำเสมอ และหน้าบางไวต่อแสงแดด

4. สารตะกั่ว (Lead)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comพบมากในเครื่องสำอางโดยเฉพาะลิปสติกสารตะกั่วจัดเป็นวัตถุที่ห้ามใช้ เพราะเนื่องถ้าหากถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย จะก่อให้เกิดอาการปวด บิดในท้องอย่างรุนแรงโดยไม่ทราบสาเหตุ ร่วมกับอาการท้องผูก หรือไม่ก็ถ่ายเป็นเลือดอาจมีอาการซีด อ่อนแรง เนื่องจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายเร็วขึ้น และลดอัตราการสร้างเม็ดเลือดแดง ระบบประสาททั่วร่างกายผิดปกติ

5. โซเดียมซัลเฟต (Sodium Lauryl Sulphate)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comพบในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดร่างกาย อย่าง สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม สารโซเดียมซัลเฟต สามารถแทรกซึมลงไปในชั้นผิวได้ถึง 5 – 6 มม.ส่งผลให้ผิวหนังบางลงจนทำให้สารพิษ อื่นๆ สามารถแทรกซึมเข้าสู่ผิวหนังจนเกิดอาการแพ้ได้

6.สาร PVP(Polyvinyl Pyrrolidone)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comพบในน้ำยาสเปรย์จัดแต่งทรงผม ลักษณะคล้ายกาว เป็นสารที่ทำให้เส้นผมแข็งตัว ใช้ผสมในน้ำยาจัดแต่งทรงผม มูส/เจลใส่ผมเป็นสารที่มีคุณสมบัติเป็นตัวทำละลาย สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ทั้งการสูดดม และการซึมเข้าทางผิวหนัง ทำให้เกิดการอุดตันของรูขุมขน ผมร่วง เกิดการแพ้หรืออักเสบบริเวณหน้าผาก ข้างหู คอ

7. กรดเรติโนอิก(Retinoic acid)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comกรดเรติโนอิก กรดเรตินอล หรือ กรดวิตามินเอ ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น สำหรับการผลิตครีมต่างๆ ยังนับเป็นสารอันตรายในเครื่องสำอาง พบได้ในยารักษาสิว ช่วยผลัดเซลล์ผิว หากนำมาใช้เองอาจเกิดอาการผิวหนังลอก เป็นผื่นแดง

8. แป้งทัลคัม(Talcum)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comพบในแป้งฝุ่น อายแชโดว์ และผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจุดซ่อนเร้น หากสูดดมเข้าสู่ร่างกาย อาจทำให้เกิดโรค ปอด มะเร็งปอด และมะเร็งต่อมหมวกไตชนิดหายาก และมีโอกาสเกิดโรคมะเร็งรังไข่ถึง 30–60% ในกลุ่มของผู้หญิงที่ใช้แป้งฝุ่นทาตัวที่ผสม Mineral Talc เป็นประจำ

9. สารพาราเบน (Paraben)
สารอันตราย 9 ชนิด ในเครื่องสำอางค์ ต้องระมัดระวังอย่างที่สุด GreenShopCafe.comเป็นสารอันตรายที่ใช้กับกลุ่มผลิตภัณฑ์บำรุงผิว เครื่องสำอางและโรลออนระงับกลิ่นกาย ยับยั้งสิ่งสกปรกได้ดี แต่ง่ายต่อการสะสมในร่างกาย และซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างรวดเร็ว

ปัจจุบันครีมและเครื่องสำอางหลายชนิดที่ไม่ได้มาตรฐาน แอบลักลอบใส่สารอันตรายในเครื่องสำอางเป็นจำนวนมาก ดังนั้นก่อนจะใช้ครีมชนิดใดๆ ผู้ใช้ควรพิจารณาและตรวจเช็คเลข อย. เพื่อความปลอดภัยตรวจสอบรายชื่อครีมอันตราย >> ครีมอันตราย


ข้อมูลจาก http://link..

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ให้บริการตรวจวิเคราะห์ต่างๆ ทั้งผลิตภัณฑ์อาหาร และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร

เลือกตรวจวิเคราะห์ออนไลน์กับเราได้ที่ เมนูหลักเลือกตรวจวิเคราะห์

โดย admin 2565/10/14 13:53:20
อ่าน: 243, ความเห็น: 0, e

ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ตรวจสารสกัดเครื่องสำอาง , ตรวจสารอันตรายในเครื่องสำอาง , ตรวจสารฉลาก เครื่องสำอาง



 
 

พิมพ์ตัวเลข ↑
 
คุณต้องการตรวจวิเคราะห์ ?
ฉลากโภชนาการ
สารสำคัญกัญชา/กัญชง
น้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application

Line @FarmKaset
สอบถามเพิ่มเติม
คุณปริม โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

สะดวกมากขึ้น
1.กรอกฟอร์มออนไลน์ และโอนชำระเงิน
2.ส่งตัวอย่างมาที่ห้องแล็บ
3.รอรับผลทางไปรษณีย์ อีเมล์และไลน์

การตรวจ ผลิตภัณฑ์ กัญชง กัญชา ให้ได้มาตรฐาน ถูกต้องตามกฎหมายรับรอง
Update: 2566/08/30 08:27:01
อ่าน: 643 ความเห็น: 0
ฉลากโภชนาการ ประโยชน์ที่เจ้าของสินค้า ไม่ควรมองข้าม
Update: 2566/08/30 08:23:39
อ่าน: 670 ความเห็น: 0
ตรวจ GMP น้ำ กับ centrallab.online
Update: 2565/12/15 07:22:00
อ่าน: 905 ความเห็น: 0
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี กับ centrallab.online
Update: 2565/12/15 07:03:41
อ่าน: 904 ความเห็น: 0
ตรวจวิเคราะห์ดิน ปรับการใช้ปุ๋ย ไม่ว่าปลูกพืชอะไร ก็ได้ผลผลิตที่ดีขึ้น ลดต้นทุนปุ๋ยได้สูงกว่าจ่ายค่าตรวจดินหลายเท่า
Update: 2565/12/15 06:51:14
อ่าน: 1090 ความเห็น: 0
ปลาร้าสับผัดสุก รสแซ่บ…
Update: 2565/12/08 14:50:25
อ่าน: 889 ความเห็น: 0
กัญชา ปรุงยังไงไห้เป็นเมนูที่ถูกต้อง และ ปลอดภัย !!
Update: 2565/12/08 14:24:35
อ่าน: 904 ความเห็น: 0
ผักอินทรีย์ คือ ผักปลอดสารพิษ หรือเปล่า?
Update: 2565/12/08 14:18:27
อ่าน: 889 ความเห็น: 0
ต้นทุนต่ำ สร้างรายได้ตลอดปี เลี้ยง ปลาสลิด ในบ่อปูนซีเมนต์
Update: 2565/12/08 14:00:22
อ่าน: 949 ความเห็น: 0
ใครป่วย มีอาการไอ มีเสมหะ ต้องลอง ! สมุนไพรแก้ไอ ขับเสมหะ
Update: 2565/12/08 13:55:08
อ่าน: 886 ความเห็น: 0
© CentralLab.online 2022